โมเมนต์ความเฉื่อยของหน้าตัด หรือ MOMENT OF INERTIA

โมเมนต์ความเฉื่อยของหน้าตัด หรือ MOMENT OF INERTIA สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้ได้มีเพื่อนท่านหนึ่งที่เป็นแฟนเพจที่น่ารักของพวกเราได้ให้ความกรุณาทำการสอบถามปัญหาเข้ามาข้อหนึ่งที่มีใจความว่า “ขออนุญาตสอบถามครับ ในการทำโครงถัก ระหว่าง หน้าตัดเหล็กแบบกลมกลวง กับ หน้าตัดเหล็กแบบสี่เหลี่ยมกลวง อันไหนจะใช้งานได้ดีกว่ากันและเพราะอะไรครับ พอดีผมมีโครงการที่จะต่อเติมขยายบ้านกับร้านค้าและไม่ชอบที่มีเสาเยอะๆ … Read More

THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง

THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ … Read More

ผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

ผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หากว่าเพื่อนๆ ยังจำกันได้เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนผมเคยนำเอาเรื่องหลักในการคำนวณหาค่ากำลังความสามารถในการรับแรงแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI มาอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน ซึ่งในหัวข้อนั้นเองผมยังได้ทำการพูดถึงประเด็นๆ หนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องและถือได้ว่ามีความสำคัญไม่น้อยในการออกแบบงานวิศวกรรมฐานรากของอาคารนั่นก็คือเรื่อง ระดับของน้ำใต้ดิน … Read More

การหันด้านแกนแข็ง (STRONG AXIS) ของโครงสร้างมาใช้ในการรับแรง

การหันด้านแกนแข็ง (STRONG AXIS) ของโครงสร้างมาใช้ในการรับแรง ดูจากรูปภาพประกอบก็แล้วกันนะครับ หากเรามีคานรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งจะมีด้านที่มีระยะที่น้อยเท่ากับระยะ b และ ก็จะมีด้านที่มีระยะที่มากเท่ากับระยะ h หากว่าเราต้องการที่จะให้คานๆ นี้มีความสามารถในการรับ นน ที่จะก่อให้เกิดผลตอบสนองในคานเป็นแรงดัดที่เกิดขึ้นโดยมี ค่าแรงเค้นดัด (BENDING STRESS) ที่น้อย และ … Read More

ผลกระทบจากการตอกเสาเข็มทั่วไป

การตอกเสาเข็มในดินเหนียว (Cohesive Soil) เกิดผลกระทบดังนี้ เกิดปริมาตรเสาเข็มแทนที่ (Pile Volume displacement) ทำให้ดินบริเวณพื้น 2-5 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มเสียรูป (remold) และ pore pressure มีค่าเพิ่มขึ้นและจะกลับคืนประมาณ 30 วันค่า Shear Strength … Read More

เสาเข็มสปันไมโคร์ไพล์แท้

เสาเข็มสปันไมโคร์ไพล์แท้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้คือ คือเสาเข็มที่มีการสปันโดยมีเครื่องจักร ทำงาน และแบบหล่อเสาเข็ม การหล่อเสาเข็มสปันไมโครไพล์ มีส่วนของปูนที่ได้มีการคำนวนสูตร โดยวิธีการผลิตนั้นต้องใช้เครื่องจักรในการทำงานจึงมีประสิทธิภาพมาก  ภูมิสยามเราจึงเป็นผู้ผลิตเสาเข็มไมโครไพล์ที่มีคุณภาพมากที่สุด เราได้มีการใช้สูตร เครื่องจักร มาตรฐานจาก SCG  และโปรแกรมในการผสมเราได้ใช้ของ Program SCG-CPACซึ่งทำให้เราเป็นเสาเข็มสปันไมโครไพล์ที่ได้มาตรฐานและสมบูรณ์ Bhumisiam ภูมิสยาม ผู้ผลิตรายแรก Spun … Read More

ประเภทปูนซีเมนต์ กระบวนการผลิต ภูมิสยามซัพพลาย

ความหมายของปูนซีเมนต์ ปูนซีเมนต์มีชื่อเต็มว่า ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ มีลักษณะเป็นผงละเอียดสีเทา ใช้เป็นส่วนสำคัญในการทำคอนกรีต เพราะมันจะทำหน้าที่เป็นตัวประสานที่ช่วยยึดหิน ทราย และเหล็ก ให้ติดแน่นเป็นเนื้อเดียวกัน ถ้าไม่มีปูนซีเมนต์ยึดประสานไว้ หิน ทราย และ เหล็ก ก็อาจแตกแยกหลุดออกจากกันได้ง่าย ไม่สามารถคงรูปร่างของสิ่งก่อสร้างดังที่ต้องการ โดยคุณสมบัติพิเศษของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ได้แก่ การก่อตัวและแข็งตัวได้ในน้ำ ดังนั้น … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ อย่างที่ผมเรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อวานว่าวันนี้ผมจะมาทำการยก ตย ในการคำนวณหน้าตัดเชิงประกอบเสริมแรงให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้เรียนรู้ไปพร้อมๆ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดิน

การออกแบบวิศวกรรมงานดิน (GEOTECHNICAL ENGINEERING หรือ GFE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดิน (GEOTECHNICAL ENGINEERING หรือ GFE) นะครับ โดยในวันนี้ผมจะมทำการเฉลย QUIZ ข้อเมื่อวานที่ผมได้ถามเพื่อนๆ ไปนะครับ จริงๆ นี่เป็นครั้งแรกที่ผมเชิญชวนเพื่อนๆ มาร่วมสนุกกัน ก็ไม่ทราบว่าผมตั้งคำถามยากเกินไปหรือเปล่านะครับ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ ในช่วงที่ผ่านมาหลายๆ วันนี้เนื้อหาที่ผมโพสต์และแชร์ก็จะหนักบ้างอะไรบ้างนะครับ … Read More

1 2 3 4 6