ตัวอย่างประเภทของฐานรากระบบต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากที่หลายๆ วันที่ผ่านมานั้นมีหลายๆ ครั้งที่ผมพูดถึงและแชร์ความรู้ให้กับเพื่อนๆ เกี่ยวกับเรื่องงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากระบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ระบบโครงสร้างฐานรากแบบตื้น (SHALLOW FOUNDATION) และ ระบบโครงสร้างฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) โดยที่ก่อนหน้านี้ผมไม่ได้ทำการอธิบายถึงเรื่องประเภทของระบบฐานรากให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบก่อนนะครับ เอาเป็นว่าผมต้องขออภัยเพื่อนๆ มา ณ โอกาสนี้ด้วยนะครับ … Read More

ตอกเสาเข็มขยายโรงงาน ตอกเสาเข็มต่อเติมอาคาร แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) มาตรฐาน มอก. ภูมิสยาม

ตอกเสาเข็มขยายโรงงาน ตอกเสาเข็มต่อเติมอาคาร แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) มาตรฐาน มอก. ภูมิสยาม เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยาม ตอบโจทย์การต่อเติมอาคาร ต่อเติมโรงงาน เสริมฐานราก สามารถตอกรับพื้นได้ถึงชั้นดินดาน หากต้องการฐานรากที่มีความแข็งแกร่ง และได้มาตรฐานสูง ไม่กระทบโครงสร้างเดิม ต้องเสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยาม … Read More

ความสัมพันธ์ระหว่างค่าหน่วยแรง (STRESS) และ ค่าความเครียด (STRAIN)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่เมื่อวันก่อนผมได้กล่าวนำถึงเรื่องกำลังของวัสดุ (STRENGTH OF MATERIALS) โดยเนื้อหาที่ผมได้เกริ่นนำถึงนั้นก็คือเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างค่าหน่วยแรง (STRESS) และ ค่าความเครียด (STRAIN) นะครับ ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่อง ชนิด ของวัสดุที่เรานิยมนำมาใช้ในงานวิศวกรรมโครงสร้างกันต่อนะครับ โดยชนิดของวัสดุที่ผมจะกล่าวถึงในวันนี้ คือ วัสดุหลักที่เรานิยมนำมาใช้ในการก่อสร้าง โครงสร้าง … Read More

การผสมปูนซีเมนต์กับดินเดิมสามารถทำได้ 2 วิธี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะมากล่าวถึงกรณีที่เรานั้นไม่ต้องการที่จะให้อาคารที่เราทำการก่อสร้างซึ่งจะรวมไปถึงมวลดินที่อยู่ในบริเวณรอบๆ ตัวอาคารนั้นเกิดการทรุดตัวตามไปด้วยนะครับ จริงๆ คำตอบที่ง่ายและตรงไปตรงมาของปัญหาข้อนี้ คือ เราจำเป็นที่จะต้องทำการพัฒนาคุณภาพของดิน (SOIL IMPROVEMENT) รอบๆ ตัวอาคารนั่นเองนะครับ โดยทั่วไปโครงสร้างของชั้นดินในบริเวณที่เป็นพื้นที่มีความดินอ่อนตัวมากจะมีเสถียรภาพต่อการรับน้ำหนักได้ค่อนข้างที่จะน้อย และ เมื่อมีน้ำหนักมากระทำบนดินก็จะเกิดการทรุดตัวที่มีค่าสูงมาก เราจึงจำเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงคุณภาพของชั้นดินอ่อนนี้ก่อนการก่อสร้างอาคารนะครับ สำหรับวิธีการในการปรับปรุงคุณภาพของชั้นดินอ่อนนั้นมีด้วยกันหลายวิธีเลยนะครับ ซึ่งแต่ละวิธีก็จะมีทั้ง ข้อดี และ … Read More

การวิเคราะห์การสั่นตัวของโครงสร้างฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับเครื่องจักร (VIBRATION ANALYSIS IN MACHINE FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของน้องวิศวกรออกแบบท่านหนึ่งที่เคยได้สอบถามผมมาหลังไมค์ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับเรื่อง พลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL DYNAMICS) นะครับ นั่นก็คือ น้องวิศวกรท่านนี้อยากที่จะให้ผมช่วยให้คำแนะนำและอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง การวิเคราะห์การสั่นตัวของโครงสร้างฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับเครื่องจักร (VIBRATION ANALYSIS IN MACHINE FOUNDATION) ให้หน่อยนะครับ เอาเป็นว่าผมอยากที่จะให้คำแนะนำน้องวิศวกรท่านนี้แบบนี้ก็แล้วกันนะครับ ในการวิเคราะห์การสั่นตัวของโครงสร้างฐานรากที่ทำหน้าที่รองรับเครื่องจักรนั้นผมต้องขอบอกก่อนนะครับว่า เรื่องๆ นี้เป็นเรื่องที่ทำความเข้าใจได้อย่างละเอียดแท้จริงได้ค่อนข้างที่จะยากมากๆ … Read More

เพราะเหตุใด เมื่อเพิ่มความหนาของฐานรากให้หนามากขึ้น จึงทำให้การกระจายตัวของแรงปฏิกิริยาในเสาเข็ม ออกมามีค่าใกล้เคียงกัน มากกว่าการเลือกใช้ความหนาที่น้อยกว่า ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวานผมพบว่ามีเพื่อนๆ หลายคนของเราสนใจกันเป็นพิเศษ โดยคำถามที่ผมได้รับตามมาก็ คือ เพราะเหตุใด เมื่อใดที่เราเพิ่มความหนาของฐานรากให้ค่อนข้างที่จะมีความหนามากขึ้น จึงทำให้การกระจายตัวของแรงปฏิกิริยาในเสาเข็มนั้นออกมามีค่าใกล้เคียงกัน มากกว่าการเลือกใช้ความหนาที่น้อยกว่า ? ผมขออนุญาตตอบตามหลักการที่เพื่อนๆ สามารถที่จะเข้าใจได้ด้วยภาษาบ้านๆ แบบนี้แล้วกันนะครับว่า เหตุผลที่ง่ายและตรงไปตรงมาที่สุด คือ การใช้ความหนาที่หนาจะทำให้ STIFFNESS หรือ ความแข็งแกร่ง … Read More

สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มสำหรับต่อเติมบ้าน สามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย

สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มสำหรับต่อเติมบ้าน สามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ต้องการเสาเข็มต่อเติมบ้าน ขยายพื้นที่บ้าน หรือในที่แคบ เช่น ข้างบ้านหรือหลังบ้าน แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile เหมาะสำหรับการต่อเติมบ้าน เพราะในขณะตอกมีแรงสั่นสะเทือนน้อย ทำให้ไม่กระทบโครงสร้างเดิม หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน … Read More

ค่า GLOBAL OVERSTRENGTH FACTOR

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ในเรื่องวิศวกรรมแผ่นดินไหวต่อนะครับ โดยวันนี้ผมอยากที่จะมาเล่าต่อให้จบในประเด็นในเรื่องของค่า GLOBAL OVERSTRENGTH FACTOR ที่ผมได้ติดค้างเพื่อนๆ เอาไว้ให้จบหลังจากที่เมื่อวานผมได้เล่าให้เพื่อนๆ ได้รู้จักถึงค่า LOCAL OVERSTRENGTH FACTOR กันไปแล้วนะครับ สำหรับค่าตัวประกอบกำลังส่วนเกินโดยรวม (GLOBAL OVERSTRENGTH) นั้นจะเกิดจากพฤติกรรมของระบบโครงสร้างโดยรวมภายใต้แรงกระทำทางด้านข้าง หลังจากที่ระบบของโครงสร้างโดยรวมนั้นเกิดการครากไปแล้ว … Read More

ระบบโครงสร้างที่นิยมนำใช้ในการต้านทานแรงกระทำจากการสั่นไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ เรื่องระบบโครงสร้างหนึ่งที่เรานิยมนำใช้ในการต้านทานแรงกระทำจากการสั่นไหวเนื่องจากการเกิดแผ่นดินไหวของอาคารที่เราทำการออกแบบนะครับ คาดว่าน่าจะมีประโยชน์ต่อๆ เพื่อนๆ และ น้องๆ หลายๆ คนที่มีความสนใจในประเด็นๆ นี้อยู่นะครับ ระบบที่ว่านี้ก็คือ ระบบโครงแกงแนง หรือ BRACED FRAME SYSTEM นั่นเองนะครับ โดยระบบๆ นี้ก็คือ … Read More

ตัวอย่าง รายการคำนวณในหัวข้อ STRENGTH AND SERVICEABILITY DESIGN OF TYPICAL RC BEAM

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมนำ ตย รายการคำนวณในหัวข้อ STRENGTH AND SERVICEABILITY DESIGN OF TYPICAL RC BEAM เพราะ เมื่อหลายวันก่อนมีเพื่อนวิศวกรรุ่นพี่ที่นิสัยดีมากๆ ท่านนึงได้สอบถามมาหลังไมค์เกี่ยวกับเรื่อง LC สำหรับการคำนวณและออกแบบในเรื่อง STRENGTH และ … Read More

1 30 31 32 33 34 35 36 75