การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต “คานแคบ”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ หากเพื่อนๆ ยังเป็นวิศวกรคนหนึ่งที่ยังมีความคุ้นชินกับวิธีการออกแบบโครงสร้าง คสล โดยวิธีหน่วยแรงใช้งาน (WORKING STRESS DESIGN) วันนี้ผมจะมาแนะนำให้ทุกๆ คนได้รู้จักกันกับคาน … Read More

กลไกที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคาร ช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาอธิบายต่อถึงเหตุผลว่าด้วยกลไกที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคารนั้นช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้กันต่ออีกสักโพสต์ก็แล้วกันนะครับ หากจะอธิบายถึงสาเหตุที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคารนั้นช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้เราต้องย้อนกลับไปที่เรื่องกลศาสตร์ของไหล (MECHANICS OF FLUID) นะครับซึ่งจะมีความละเอียดและซับซ้อนพอสมควรนะครับ ผมจึงจะขออนุญาตทำการอธิบายแต่เพียงสังเขปก็แล้วกันนะครับ สาเหตุหลักๆ … Read More

ในการออกแบบ TRUSS เวลาหาแรงใน MEMBER เราจะได้ค่า แรงดึง กับ แรงอัด แล้วมีโครงสร้าง TRUSS ใดที่จะต้องทำหน้าที่ในการรับ MOMENT ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามที่รุ่นน้องวิศวกรออกแบบโครงสร้างของผมท่านหนึ่งได้กรุณาฝากคำถามกับผมว่า “อาจารย์ครับ นอกจากค่า DEFLECTION แล้วเรายังจะต้องตรวจสอบอะไรบ้างในการออกแบบโครงสร้าง ? เพราะ ผมเห็นอาจารย์พูดถึงเรื่อง … Read More

ระยะห่างน้อยที่สุด และ ระยะห่างมากที่สุด ของสลักเกลียว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงเรื่องสำคัญเรื่องหนึ่งที่เรามีความจำเป็นต้องทราบในการออกแบบสลักเกลียว นั่นก็คือเรื่อง ระยะห่างน้อยที่สุด และ ระยะห่างมากที่สุด ของสลักเกลียวนะครับ ผมคิดว่าเพื่อนของเราหลายๆ คนอาจจะไม่รู้สึกอะไรมากนักเมื่อได้ยินเรื่อง … Read More

ต่อเติมอาคาร ตอกเสาเข็มในอาคาร ที่มีพื้นเพดานต่ำ แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) โดย ภูมิสยาม

ต่อเติมอาคาร ตอกเสาเข็มในอาคาร ที่มีพื้นเพดานต่ำ แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) โดย ภูมิสยาม ต่อเติมอาคาร เสริมฐานรากภายในอาคาร ต้องการตอกเสาเข็ม แต่มีความสูงจำกัด ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถเข้าทำงานในพื้นที่จำกัด หรือมีพื้นเพดานต่ำได้ เพราะปั้นจั่นที่ใช้ตอกมีความสูงเพียง 3 เมตร และยังสามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 … Read More

การเสริมเหล็กเพื่อป้องกันการวิบัติแบบต่อเนื่อง (PROGRESSIVE COLLAPSE REINFORCEMENT)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบปัญหาให้แก่น้องวิศวกรของผมท่านหนึ่งทีได้สอบถามมาเกี่ยวข้องกันกับการเสริมเหล็กเพื่อป้องกันการวิบัติแบบต่อเนื่อง (PROGRESSIVE COLLAPSE REINFORCEMENT) ในกรณีที่เรานั้นทำการออกแบบพื้น FLAT PLATE ไม่ว่าจะด้วยระบบ คสล … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาทำการตอบคำถามที่มีแฟนเพจของผมท่านหนึ่งได้กรุณาสอบถามผมมาหลังไมค์ว่า “หากสังเกตสมการจากมาตรฐาน ACI หรือ EIT เพราะเหตุใดเวลาที่เรานำค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีตจาก ตย รูปทรงกระบอกมาตรฐานที่อายุ 28 วัน … Read More

สร้างอาคารใหม่ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ (Spun Micro Pile) ภูมิสยาม เพื่อฐานรากอาคารที่มั่นคง

สร้างอาคารใหม่ ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ (Spun Micro Pile) ภูมิสยาม เพื่อฐานรากอาคารที่มั่นคง สร้างอาคารใหม่ หรือเสริมฐานราก ต้องการเสาเข็มคุณภาพ แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. 397-2524 การผลิตและการตอกได้การรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015 และอาชีวอนามัยด้านความปลอดภัยในการตอก ISO 45001:2018 … Read More

เสาเข็มเพื่อการต่อเติม หรือสร้างใหม่ สามารถตอกชิดกำแพงได้ ต้องเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) โดยภูมิสยาม

เสาเข็มเพื่อการต่อเติม หรือสร้างใหม่ สามารถตอกชิดกำแพงได้ ต้องเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) โดยภูมิสยาม ต้องการต่อเติมหรือสร้างใหม่ แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มที่มีเนื้อคอนกรีตที่หนาแน่น เพราะผ่านการสปัน (spun) = กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง และทำให้เสาเข็มมีความมั่นคงแข็งแรงสูง และมีรูกลมกลวงตรงกลาง เพื่อระบายดิน ขณะตอกแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก สามารถตอกชิดกำแพงได้ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ เพื่อนๆ เคยพบเจอกับเหตุการณ์เช่นนี้หรือไม่ครับ ? นั่นก็คือ เพื่อนๆ มีความต้องการที่จะทำการก่อสร้างเสาเข็มเจาะ (BORED PILE) แต่ … Read More

1 26 27 28 29 30 31 32 75