ค่าปริมาณโมเมนต์ดัดเท่ากัน แต่ ทำไมเกิดค่าการโก่งตัว (DISPLACEMENT) ไม่เท่ากัน ?

ค่าปริมาณโมเมนต์ดัดเท่ากัน แต่ ทำไมเกิดค่าการโก่งตัว (DISPLACEMENT) ไม่เท่ากัน ? ค่าการโก่งตัวนั้นจะเป็นค่าที่แปรผันตรงกันกับสัดส่วนระหว่างค่า M/EI ซึ่งแน่นอนว่าหากว่า ปริมาณของแรงดัด นั้นมีค่าที่มาก ก็จะทำให้ค่าการโก่งตัวนั้นมีค่ามากตามไปด้วยนั่นเองนะครับ แต่ เพื่อนๆ ไม่ต้อง งง ไปนะครับ เพราะ เพื่อนๆ อาจจะเห็นได้ว่ารูปแต่ละรูปนั้นมี … Read More

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ประเภทของโครงถักออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) โครงถักแบบท้องเรียบ (ความลึกเท่ากันตลอดทั้งความยาว) (2) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดมีความลึกที่ปลายด้วย) (3) โครงถักแบบจั่ว (ชนิดไม่มีความลึกที่ปลายเลย) หากเราให้ L เป็นความยาวช่วงทั้งหมดระหว่างเสาถึงเสาที่รองรับตัวโครงถัก … Read More

วิธีในการคำนวณหารุ่นและขนาดความหนาของแผ่นพื้น คำนวณน้ำหนักบรรทุกของแผ่นพื้นที่ถูกถ่ายมาลงยังบนหลังคาน

วิธีในการคำนวณหารุ่นและขนาดความหนาของแผ่นพื้น คำนวณน้ำหนักบรรทุกของแผ่นพื้นที่ถูกถ่ายมาลงยังบนหลังคาน จากรูปที่ 1 เรามี แผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบ คอร ท้องเรียบตัน (PC PLANK SLAB) ที่ได้รับการออกแบบให้ทำการวางพาดไปบนช่วงพาดซึ่งมีขนาดความยาวเท่ากับ 4 m บนแผ่นพื้นๆ นี้จะต้องรับ นน SDL ที่เป็น FINISHING ซึ่งมี … Read More

คำแนะนำเกี่ยวกับการคำนวณค่า PARAMETER

คำแนะนำเกี่ยวกับการคำนวณค่า PARAMETER เนื่องจากว่าค่าที่จะต้อง INPUT นั้นมีหลายตัว ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตเริ่มต้นด้วยค่า PARAMETER ของวัสดุคอนกรีต (CONCRETE) ก่อนก็แล้วกันนะครับ คอนกรีต นั้นมีตัวแปรสำคัญที่สุดก็คือค่า fc’ หรือ ค่ากำลังอัดประลัยจาก ตย รูปทรงกระบอกมาตรฐาน ซึ่งบางครั้งจะ RELATE กันกับค่า … Read More

ผลจากการทดสอบด้วยวิธี PILE DYNAMIC LOAD TEST ซึ่งได้จากการทดสอบเสาเข็มจริงๆ ณ หน้างานนะครับ

ผลจากการทดสอบด้วยวิธี PILE DYNAMIC LOAD TEST ซึ่งได้จากการทดสอบเสาเข็มจริงๆ ณ หน้างานนะครับ จากแผนภูมินี้เป็นเพียงแผนภูมิหนึ่งที่เป็นผลที่ได้จากการทดสอบเสาเข็มโดยวิธี DYNAMIC LOAD TEST นะครับ ซึ่งก็คือ แผนภูมิแสดงค่าความสัมพันธ์ระหว่างค่า นน บรรทุกที่เสาเข็มจะสามารถรับได้ ทางแกน X และ … Read More

มีวิธีในการตรวจสอบสถานะของชั้นดินนี้ว่ามีคุณสมบัติด้านการต้านทานการทรุดตัวนี้ด้วยวิธีการอื่นๆ อีกหรือไม่ ?

มีวิธีในการตรวจสอบสถานะของชั้นดินนี้ว่ามีคุณสมบัติด้านการต้านทานการทรุดตัวนี้ด้วยวิธีการอื่นๆ อีกหรือไม่ ? เป็นการดีแล้วครับที่วิศวกรอย่างเราๆ จะเป็นห่วงว่าโครงสร้างเสาเข็มของเราจะเกิดปัญหาประเด็นนี้ขึ้น เพราะ หากปล่อยให้เกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นจริงๆ เราจะทำการแก้ไขปัญหานี้ได้ค่อนข้างยากเอาเรื่องอยู่นะครับ ดังนั้นหนทางที่ดีที่สุด คือ เราก็ควรที่จะป้องกันไม่ให้ปัญหานี้เกิดขึ้นก็จะเป็นการดีที่สุดนั่นเองนะครับ ผมขออนุญาตตอบคำถามเพื่อนท่านนี้ดังนี้ก็แล้วกันนะครับ นอกจากผลจากการทดสอบค่าการรับ นน ของดินแล้ว ไม่ว่าจะโดยวิธี STATIC LOAD TEST หรือ … Read More

ผลของการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มในฐานราก F1 นั้นจะส่งผลทางด้านกำลังและเสถียรภาพของตัวฐานรากและตอม่อที่มากกว่าฐานรากประเภทอื่นๆ

ผลของการเยื้องศูนย์ของเสาเข็มในฐานราก F1 นั้นจะส่งผลทางด้านกำลังและเสถียรภาพของตัวฐานรากและตอม่อที่มากกว่าฐานรากประเภทอื่นๆ เนื่องจากว่าฐานราก F1 นั้นถูกนำมักใช้ก่อสร้างอาคารที่มีขนาดไม่ใหญ่โตมาก เช่น บ้านพักอาศัยที่มีน้ำหนักบรรทุกน้อย เป็นต้น โดยในฐานรากที่มีเสาเข็ม 1 ต้น นั้นเรามักที่จะทำการวางให้เสาเข็มนั้นอยู่ตรงกันกับศูนย์กลางของตำแหน่งตอม่อพอดี แต่ ก็มักจะพบว่าการก่อสร้างฐานราก F1 นี้มีปัญหาอันเนื่องมาจากขั้นตอนในการตอกเข็มนั้นมักที่จะเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปจากตำแหน่งดังกล่าว ซึ่งจริงๆ แล้วผู้ออกแบบที่มีประสบการณ์ก็มักที่จะนิยมทำการเผื่อเอาไว้สำหรับกรณีไว้ที่ประมาณ 0.10D … Read More

ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR

ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR เวลาที่เราทำการออกแบบค่า นน บรรทุกปลอดภัยของเสาเข็มนั้น ค่า SAFETY FACTOR ที่เรานิยมใช้โดยทั่วๆ ไปนั้นเท่ากับ 2.5 หรือ น้อยที่สุดเท่ากับ 2 นั้น ทางผู้ออกแบบเค้ามีเกณฑ์อย่างไรที่ใช้ในการประเมินและพิจารณาให้ค่าๆ นี้ออกมาเป็นดังนี้ครับ ? … Read More

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก

เทคนิคในการ วิเคราะห์ และ แก้ไข งานวิศวกรรมฐานราก ปัญหาที่พบเจอ คือ ฐานรากใช้ระบบ เสาเข็มเหล็ก ร่วมกันกับ เสาเข็มคอนกรีต แถมฐานรากยังเป็นฐานรากลอยอีกด้วย โดยที่เราไม่สามารถทำการตัดหัวเข็มลงไปได้เนื่องจากข้อจำกัดทางด้านงานสถาปัตยกรรมและการทำงานที่หน้างานนะครับ ปล โดยปกติฐานรากที่มีการใช้งานกันตามปกตินั้นเราจะทำฐานรากให้จมอยู่ใต้ดิน ทั้งนี้เพราะว่า เวลาที่เราทำการใช้งานเสาเข็ม เราจะตั้งสมมติฐานว่าว่าเสาเข็มนั้นถูกยึดรั้งทางด้านข้างไว้ด้วยมวลดิน ทำให้สำหรับกรณีของฐานรากลอยนั้นเราจำเป็นจะต้องคำนึงถึงว่า เสาเข็มจริงๆ … Read More

FLEXURAL FORMULA ในเรื่อง STRESSES IN BEAM

FLEXURAL FORMULA ในเรื่อง STRESSES IN BEAM ในหลายๆ ครั้งเพื่อนๆ มักไม่ได้นำความรู้ รวมไปถึงค่าต่างๆ ในหัวข้อนี้ไปใช้ในการวิเคราะห์ความเค้นในคานกันสักเท่าใดเลยนะครับ เพราะ เพื่อนหลายๆ คนมักจะมีความเข้าใจว่าในการหาค่าความเค้นในคานเราจำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์หาแรงปฏิกิริยาของจุดรองรับ หาค่าโมเมนต์ดัด และ จากนั้นเราจึงจะสามารถทราบได้ว่าคานนั้นจะมีความเค้นดัดเกิดขึ้นในหน้าตัดเป็นค่าเท่าใด เอาเป็นว่าวันนี้ผมจะมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ก็แล้วกันนะครับว่าการหาความเค้นดัดในคานนั้นเราไม่จำเป็นที่จะต้องทำเช่นนั้นก็ได้นะครับ เรามาเริ่มต้นดูรูปที่ผมแนบมาด้วยประกอบคำอธิบายของผมกันเลยดีกว่านะครับ … Read More

1 28 29 30 31 32 33 34