“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” วิธีเบื้องต้นในการประเมินค่ากำลังอัดของคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณ 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมาผมมีโอกาสเดินทางไปตรวจการทำงานก่อสร้างที่หน้างานและบังเอิญไปพบเจอกับปัญหาๆ หนึ่งที่วิศวกรโครงการได้นำเอามาปรึกษากับผม เรื่องนี้ก็คือ จะแก้ปัญหาอย่างไรดีหากว่าค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีตที่ทำการทดสอบได้นั้นออกมามีค่าต่ำกว่าที่เราได้ทำการออกแบบเอาไว้ ซึ่งผมก็ได้ให้คำแนะนำในเบื้องต้นกับวิศวกรท่านนี่ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วและคิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ด้วยหากผมนำเอาประเด็นๆ นี้มาแชร์เป็นความรู้กับเพื่อนๆ ในวันนี้ด้วยนะครับ ก่อนอื่นเลยผมต้องบอกกับเพื่อนๆ ไว้ก่อนว่า … Read More

ต่อเติมเสริมฐานรากโรงงาน ให้มีความมั่นคงมากยิ่งขึ้น ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

ต่อเติมเสริมฐานรากโรงงาน ให้มีความมั่นคงมากยิ่งขึ้น ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่นิยมมากในงานก่อสร้างต่างๆ รวมถึงงานเสริมฐานราก และงานปรับปรุงโครงสร้าง ที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรงสูง สามารถรับน้ำหนักปลอดภัย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ของภูมิสยาม สามารถรับน้ำหนักตามที่วิศวกรออกแบบถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) และเป็นเสาเข็มชนิดที่เมื่อติดตั้งแล้วเสร็จ สามารถรับน้ำหนักได้ทันที เหมาะกับอาคาร โรงงาน … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ คืออะไร? ใช้ในงานสร้างใหม่ได้หรือไม่?

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ คืออะไร? ใช้ในงานสร้างใหม่ได้หรือไม่? ในปัจจุบัน เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นที่นิยมมากในงานต่อเติมอาคารบ้านเรือนต่างๆ และไม่ใช่แค่งานต่อเติม ยังสามารถใช้ในงานสร้างใหม่ได้ด้วย ดังนั้นเสาเข็มสปันไมโครไพล์ จึงตอบโจทย์ในทุกงานก่อสร้างมากที่สุด เพราะเป็นเสาเข็มขนาดเล็ก เหมาะแก่การเคลื่อนย้ายเข้าหน้างานได้สะดวก และเสาเข็มยังสามารถเพิ่มต่อความยาว ได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า ทำให้เสาเข็มสามาถตอกได้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง เพื่อการรับน้ำหนักปลอดภัย สามารถรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” ตัวอย่างในการคำนวณหาค่าหน่วยแรงเค้นประสิทธิผลของชั้นดินที่มีความซับซ้อน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ก่อนหน้านี้ผมเคยได้ทำการอธิบายพร้อมกับยกตัวอย่างในการคำนวณหาค่า หน่วยแรงเค้นประสิทธิผล หรือ EFFECTIVE STRESS หรือที่พวกเรานิยมเขียนด้วยตัวย่อว่า σ’ ให้กับเพื่อนๆ ในเพจของเราไปแล้ว ซึ่งถ้าผมจำไม่ผิดตัวอย่างในวันนั้นค่อนข้างจะเป็นตัวอย่างที่มีความตรงไปตรงมามาก … Read More

“ถาม-ตอบชวนสนุก” ปัญหาการคำนวณหาค่าkhเพื่อนำไปคำนวณหาค่า Kh สำหรับสร้าง SoilSpringElement

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม และเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมสมมติว่า โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 300 มม และมีขนาดของ PILE … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” ขั้นตอนการทำการเจาะสำรวจดินชนิดพิเศษ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตมาพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันกับขั้นตอนการทำการเจาะสำรวจดินเพื่อเป็นการเก็บเอาตัวอย่างดินขึ้นมาเพื่อทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินชนิดพิเศษ กล่าวคือเราจะทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินแบบนี้ก็ต่อเมื่อเรามีความต้องการที่จะทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากของโครงสร้างที่ไม่ได้ตั้งอยู่บนบกเหมือนกันกับกรณีของงานก่อสร้างทั่วๆ ไปนั่นก็คือ งานประเมินกำลังของโครงสร้างประเภทที่เป็นท่าเทียบเรือน่ะครับ สาเหตุที่ผมเรียกการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ ของชั้นดินแบบนี้ว่าเป็นการทดสอบชนิดพิเศษก็เพราะว่า เราไม่สามารถที่จะทำการเจาะสำรวจดินเพื่อเป็นการเก็บเอาตัวอย่างดินขึ้นมาเพื่อทำการทดสอบหาค่าคุณสมบัติต่างๆ … Read More

เสาเข็มไอไมโครไพล์ คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม และหากมีพื้นที่จำกัด สามารถเข้าทำงานได้หรือไม่?

เสาเข็มไอไมโครไพล์ คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม และหากมีพื้นที่จำกัด สามารถเข้าทำงานได้หรือไม่? เสาเข็มไอไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่ถูกออกแบบมาให้มีความยาวเพียง 1.5 เมตร เหมาะสำหรับงานต่อเติมในพื้นที่จำกัด เพื่อให้สามารถขนย้ายเข้าหน้างานได้อย่างสะดวก และปั่นจั่นที่ใช้ตอกเสาเข็มชนิดนี้ ก็ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ เพื่อง่ายต่อการเคลื่อนย้ายเข้าหน้างานเช่นเดียวกัน และข้อดีของเสาเข็มไอไมโครไพล์ คือสามารถสามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. จากเซ็นเตอร์เสาเข็ม ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้างเดิม … Read More

ค่าระยะเยื้องศูนย์มากที่สุด ที่จะไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้น เกิดหน่วยแรงเค้นดึง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่น้องวิศวกรที่เพิ่งจบใหม่ท่านหนึ่ง ซึ่งจริงๆ แล้วน้องท่านนี้ก็อายุน้อยกว่าผมเพียงไม่กี่ปีแต่ผมยอมรับในตัวแกเลยเพราะแกใช้ความมานะอุตสาหะตั้งใจเรียนจนจบในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ระดับปริญญาตรีตอนอายุ 30 กว่าๆ ได้ ผมขอแสดงความยินดีกับแกด้วยก็แล้วกันและขออำนวยพรให้แกมีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานสืบไปนะครับ ทีนี้สิ่งที่แกนำเอาปรึกษากับผมนั้นต้องย้อนกลับไปตอนที่แกกำลังเตรียมตัวสอบใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมอยู่ ซึ่งแกเคยไปอ่านเจอคำถามข้อหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW … Read More

สร้างใหม่ ไว้ใจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มมาตรฐาน มอก.

สร้างใหม่ ไว้ใจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มมาตรฐาน มอก. เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มเพื่อการก่อสร้าง เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานราก เพื่อความมั่นคงแข็งแรง ถูกออกแบบมาเพื่อเสริมความสามารถในการรับนํ้าหนักโดยเฉพาะ โดยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ใช้ปั้นจั่นที่ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ ในการตอกเสาเข็มให้ลึกถึงชั้นดินทราบแข็ง และสามารถรับน้ำหนักได้ตามที่วิศวกรออกแบบ ถึง15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่) และทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ อย่างที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้แล้วว่าผมกำลังจะมาอธิบายและให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับการออกแบบ ชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับ แรงเฉือนโดยตรง หรือ DIRECT SHEAR ซึ่งมีคำถามเข้ามาเยอะพอสมควรเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ ซึ่งถึงแม้โพสต์ในทุกๆ … Read More

1 5 6 7 8 9 10 11 75