การทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้เนื้อหาจะเกี่ยวข้องกับเรื่องที่มีแฟนเพจของเราท่านหนึ่งได้ REQUEST มาเป็นพิเศษนั่นก็คือเรื่องการออกแบบวิศวกรรมโครงสร้าง เสายาว หรือ SLENDER COLUMN นั่นเองนะครับ   โดยที่หากจะให้ผมพูดถึงเรื่องๆ นี้คงจะต้องอาศัยระยะเวลาในการพูดและอธิบายกันนานโขอยู่ … Read More

วิธีในการออกแบบโครงสร้างเพื่อให้มีความสามารถในการต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับวิธีในการออกแบบโครงสร้างเพื่อให้มีความสามารถในการต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวได้ ซึ่งจะถือได้ว่าวิธีการนี้เป็นวิธีการที่ค่อนข้างจะมีความทันสมัยมากวิธีการหนึ่ง นั่นก็คือ การประเมินสมรรถนะโดยอาศัยข้อมูลวิศวกรรมแผ่นดินไหว หรือ PERFORMANCE BASED EARTHQUAKE ENGINEERING หรือ PBEE นั่นเองนะครับ   ซึ่งวิธีการนี้จะแตกแยกย่อยออกไปตามลักษณะของวัสดุหลักที่นำมาใช้ทำการก่อสร้างตัวระบบโครงสร้างในอาคารของเรา … Read More

การทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่เหนือพื้นดินขึ้นไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่เพิ่งจะผ่านพ้นมาไม่นานมานี้ นั่นก็คือเหตุการณ์ที่มีรถชนเข้ากับตัวราวกันตก คสล ที่ทำหน้าที่กั้นระหว่างถนนและคลอง ซึ่งผลปรากฏว่าราวกันตก คสล นั้นเกิดการวิบัติจนในที่สุดก็ทำให้รถนั้นตกลงไปในคลองจนทำให้มีผู้เสียชีวิตในเวลาต่อมานั่นเองนะครับ   โดยที่ในวันนี้ผมไมได้จะมากล่าวถึงเหตุการณ์ๆ นี้ในแง่ใดแง่หนึ่งเป็นพิเศษนะครับ ผมเพียงแค่อยากที่จะมาชี้ให้เห็นถึงรายละเอียดหนึ่งที่มีความสำคัญในการออกแบบโครงสร้างจำพวกราวกันตกเหล่านี้ว่าควรมีวิธีการและแนวคิดในการออกแบบเป็นอย่างไรเท่านั้นนะครับ   ก่อนอื่นผมต้องขอบอกเอาไว้ก่อนว่าหากมีเพื่อนๆ ท่านใดกำลังจะต้องทำการออกแบบโครงสร้างแบบนี้ … Read More

การเจาะนำ หรือ PRE-BORE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน   วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกับขั้นตอนในการทำงานเสาเข็มขั้นตอนหนึ่งที่มีชื่อว่า การเจาะนำ หรือ PRE-BORE ซึ่งในบางครั้งบางคนก็เรียกว่า การเจาะกด หรือ AUGER PRESS นะครับ   คำว่า … Read More

วิธีการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้าง ให้มีค่าความต้านทาน ต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ หลังจากที่เมื่อวานนี้ผมได้พูดถึงวิธีในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างให้สามารถที่จะมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้นสำหรับกรณีที่โครงสร้างนั้นมีความวิกฤติต่อประเภทของ นน บรรทุกในแนวดิ่งไปแล้ว ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่องวิธีในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างให้สามารถที่จะมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้นสำหรับกรณีที่โครงสร้างนั้นมีความวิกฤติต่อประเภทของ นน บรรทุกในแนวราบอย่างแรงกระทำจากแผ่นดินไหวให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อก็แล้วกันนะครับ   เริ่มจากการที่เราจะต้องทำการเลือกนำเอาวิธีการออกแบบๆ … Read More

การจี้หรือกระทุ้งคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ เนื่องจากผมมีโอกาสได้ไปสนทนากันกับรุ่นพี่ที่เป็นสถาปนิกรุ่นใหญ่ท่านหนึ่ง เราได้พูดคุยและแลกเปลี่ยนความรู้กันในหลายๆ เรื่องและมีคำถามๆ หนึ่งที่พี่เค้าได้สอบถามผมมาและผมก็ได้ตอบไปเรียบร้อยแล้ว … Read More

วิธีในการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ   วันนี้ผมจะมาให้ความรู้และข้อคำแนะนำแก่เพื่อนๆ ถึงเรื่อง วิธีในการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างคอนกรีต หรือ ในภาษาอังกฤษเราจะใช้คำว่า STRUCTURAL STRENGTHENING หรือ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เพื่อนๆ เคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ครับว่าเพราะเหตุใดเวลาที่ทำการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กที่มีการดัดโค้ง เค้าจึงนิยมใช้หน้าตัดเหล็กแบบกลมกลวงกันอยู่เสมอเลย ? วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบและทำความเข้าใจกันถึงประเด็นๆ นี้นะครับ   … Read More

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มเพื่อการต่อเติม อาคาร โรงงาน

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (SPUN MicroPile) โดย ภูมิสยาม เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก อาคาร โรงงาน ต่อเติมอาคารโรงงาน ต้องการเสาเข็มที่มีความมั่นคงแข็งแรง แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เหมาะสำหรับ การตอกรับพื้นหรือขยายโรงงาน เพื่อเสริมฐานรากให้มั่นคงแข็งแรง เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มขนาดเล็กที่มีความแข็งแรงมาก จากการ … Read More

เฉลยคำตอบ ในการสอบใบประกอบวิชาชีพ ระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกร ข้อที่ 72

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 72 จากโครงเฟรมที่แสดง แรงเฉือนมากที่สุดใน BC เท่ากับ   เฉลย เนื่องจากปัญหาในข้อนี้จะสัมพันธ์กันกับปัญหาข้อที่ 71 ที่ผมได้เฉลยไปแล้วเมื่อสัปดาห์ก่อน … Read More

1 22 23 24 25 26 27 28 75