ปัญหาการฝากเหล็ก ในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก สำหรับกรณีที่การทำงานโครงสร้างส่วนนั้นมีการแบ่งทำการเทโดยมีเหตุจำเป็น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โดยที่ใจความของโจทย์ปัญหาข้อนี้ก็คือ เมื่อเราอาศัยโปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง MICROFEAP หรือโปรแกรมอื่นๆ เพื่อที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างประเภทโครงถักหรือ TRUSS ELEMENT ในรูป (1a) โปรแกรมจะสามารถให้คำตอบออกมาได้แต่พอเพิ่มจุดต่อหรือ NODE เข้าไปเหมือนในรูป (1b) ก็จะพบว่าบางโปรแกรมอาจจะพบว่ามี ERROR หรือบางโปรแกรมนั้นจะให้ผลหรือคำตอบที่ค่อนข้างแปลกๆ … Read More

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีในการก่อสร้างโครงสร้างDiaphragmWall

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงรายละเอียดที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเจ้าโครงสร้าง DIAPHRAGM WALL นี้เพิ่มเติมกันต่ออีกสักโพสต์ก็แล้วกันนั่นก็คือ กรรมวิธีและขั้นตอนโดยสังเขปในการก่อสร้างโครงสร้าง DIAPHRAGM WALL แบบโดยตรงภายในชั้นดินนั่นเองครับ   เนื่องจากการก่อสร้างโครงสร้าง DIAPHRAGM … Read More

การเสริมเหล็กรับแรงเฉือนภายในคานประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากประเด็นเมื่อสองสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการตอบเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งเกี่ยวกับคำถามที่เพื่อนท่านนี้ได้สอบถามผมเข้ามาเกี่ยวกับเรื่องตำแหน่งที่ควรจะวาง TIED BEAM ว่าควรที่จะอยู่ที่บริเวณใดจึงจะเหมาะสมซึ่งผมก็ได้ตอบคำถามข้อนี้ให้ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ปรากฏว่าผมก็ยังได้รับคำถามต่อเนื่องจากคำถามข้อนี้จากเพื่อนวิศวกรท่านเดิมมาอีกว่า   “ขอสอบถามเกี่ยวกับเสาที่ตั้งอยู่บริเวณปลายคานในกรณีนี้เหล็กเสริมรับแรงเฉือนจะมีรายละเอียดเหมือนหูช้างไหมครับ (คือใส่เหล็กรับแรงเฉือนตามแนวนอน) ใช่หรือไม่ครับ ?”   จริงๆ คำถามข้อนี้เป็นคำถามที่ดี ต้องขอชมเชยคนถามด้วยที่ได้ถามคำถามที่ประโยชน์มากๆ … Read More

การใช้งานและข้อดีข้อด้อยของเสาดินซีเมนต์โดยสังเขป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากในสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการพูดถึงเรื่อง วิธีในการพัฒนากำลังของดิน ให้แก่เพื่อนๆ ไป ปรากฏว่าก็ได้มีความเห็นเข้ามาอย่างต่อเนื่องในอินบ็อกซ์ของผม โดยที่ส่วนใหญ่แล้วอยากที่จะให้ผมอธิบายและยกตัวอย่างถึงวิธีในการปรับปรุงคุณภาพของชั้นดินให้ได้รับทราบกัน ผมจึงคิดว่าน่าจะเป็นการดีหากว่าผมจะใช้เวลาในช่วงวันพุธเพื่อที่จะทำการอธิบายและยกตัวอย่างถึงเรื่องๆ นี้ให้แก่เพื่อนๆ โดยที่วันนี้ผมจึงอยากจะขอพูดถึงเรื่อง การใช้เสาดินซีเมนต์ หรือ … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่า Esoil

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ อย่างที่ผมได้เรียนให้เพื่อนๆ ทุกคนได้ทราบไปตั้งแต่ในสัปดาห์ที่แล้วว่าในสัปดาห์นี้ผมคงจะมีความจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตทำการพูดและรวบรัดให้จบเกี่ยวกับเรื่องวิธีในการคำนวณหาค่า Esoil นี้แล้วเพราะหากว่าผมจะต้องพูดรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ให้ครอบคลุมถึงเนื้อหาทั้งหมดจริงๆ ก็อาจที่จะต้องใช้เวลาเนิ่นนานมากจนเกินไป ยังไงผมก็คงจะขอทำการอธิบายแค่เพียงสังเขป ทั้งนี้เพื่อให้เพื่อนๆ นั้นสามารถที่จะมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องๆ นี้ในระดับหนึ่งและสามารถที่จะนำเอาองค์ความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้งานได้ในเบื้องต้นครับ   … Read More

ปัญหาของการที่ดินเกิดการกัดเซาะหายไปในการทำงานก่อสร้างเสาเข็ม ที่มีกลไกการรับแรงเป็นแบบเสาเข็มแรงฝืด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ผมจะมายกตัวอย่างถึงปัญหางานวิศวกรรมโครงสร้างที่พบได้จริงๆ ในชีวิตประจำวันของเราๆ ซึ่งในวันนี้ผมจะหยิบยกเอากรณีของปัญหาต่อเนื่องจากปัญหาในสัปดาห์ที่แล้วนะครับ   โดยที่ประเด็นในวันนี้จะมีอยู่ด้วยกัน 2 ประเด็นหลักๆ ด้วยกัน   ประเด็นแรก เมื่อเกิดเหตุการณ์เหมือนเช่นในรูปนั่นก็คือ ดินนั้นเกิดการทรุดตัวลงไปมากจนทำให้เสาเข็มที่อยู่ใต้ฐานรากนั้นลอยโผล่ขึ้นมาจนลอยตัวอยู่ระดับเหนือดินที่ทรุดตัวลงไป จนในที่สุดก็จะไม่มีดินที่จะคอยทำหน้าที่ในการประคองพื้นที่รอบๆ ทางด้านข้างของตัวโครงสร้างเสาเข็มอีกต่อไป … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อช่วงเวลาประมาณปลายๆ สัปดาห์ที่แล้วคุณโอ CEO หนุ่มรูปหล่อของภูมิสยามได้ต่อสายหาผม รบกวนให้ผมช่วยติดตามสอบถามไปยังลูกค้าท่านหนึ่งของคุณโอ เนื่องด้วยลูกค้าท่านนี้มีคำถามเกี่ยวกับรายการคำนวณเรื่องการตอกเสาเข็ม หรือ PILE DRIVEN CALCULATION ผมจึงได้ต่อสายและพูดคุยกับลูกค้าท่านนี้ให้ … Read More

วิธีในการคำนวณหาค่าโมดูลสยืดหยุ่นของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา โดยสืบเนื่องจากเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาที่ผมได้แชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ไปถึงเรื่อง วิธีในการคำนวณหาค่าโมดูลสยืดหยุ่นของดิน ดังนั้นในวันนี้ผมเลยคิดว่าน่าจะลองโพสต์ถามเพื่อนๆ ดูเพื่อที่จะตรวจสอบดูสิว่าเพื่อนๆ จะมีความเข้าใจในเรื่องๆ นี้มากน้อยเพียงใดและเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากผลการทดสอบดินพบว่า ชั้นดินในบริเวณที่จะทำการก่อสร้างโครงสร้างใต้ดินนี้เป็นดินประเภท SILTY CLAY ซึ่งก็จะพบว่ามีค่า POISSON’S RATIO … Read More

วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีที่ทันสมัยใหม่ หรือ ADVANCED STRUCTURAL ANALYSIS METHOD

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่อง วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีการที่มีความทันสมัยใหม่ หรือ ADVANCED STRUCTURAL ANALYSIS METHOD โดยวิธีการนี้ก็คือ วิธีการวิเคราะห์ด้วยเมตริกซ์ หรือ MATRIX ANALYSIS METHOD … Read More

เหล็กเสริมพิเศษที่มุมด้านนอกสุดของแผ่นพื้นสองทาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ อย่างที่ผมได้แจ้งไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าหลังจากที่ผมได้แชร์ความรู้ในเรื่องหลักการหลักๆ ของเรื่อง แผ่นพื้นวางบนคานแบบทางเดียวหรือ ONE WAY SLAB ON BEAM และ แผ่นพื้นวางบนคานแบบสองทางหรือ TWO … Read More

1 17 18 19 20 21 22 23 75