คอนกรีตไหลเข้าแบบง่าย
เพราะเหตุใด?? เสาเข็มไมโครไพล์ ของภูมิสยามจึงจะต้องอาศัยกระบวนการในการหล่อคอนกรีตโดยการให้แรงเหวี่ยง หลักการพื้นฐานของการตอกเสาเข็มคือ การทำให้ “พลังงาน” หรือ “ENERGY” แก่โครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการ “ตอก” เสาเข็มลงไปในดิน ซึ่ง “ปริมาณ” ของพลังงานที่จะทำการใส่ลงไปในดินนั้นจะมีค่าที่ มาก หรือ น้อย ก็จะขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย เช่น … Read More
วิธีในการแก้ไขปัญหา เรื่องรอยร้าวที่เกิดขึ้นเนื่องจากอาคารทั้งสองนี้เกิดการเสียรูปแบบแยกตัวหรือว่าเกิดการทรุดตัวที่มีความแตกต่างกัน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ตามที่ผมได้เรียนกับเพื่อนๆ ไปในการโพสต์ครั้งที่แล้วว่าวันนี้ผมจะหยิบยกและนำเอาวิธีการในการแก้ไขปัญหาของกรณีปัญหาที่เกิดจากการที่มีรอยร้าวเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากอาคารใหม่และอาคารเก่านั้นมีการทำการก่อสร้างทางเชื่อมอาคารและอาคารทั้งสองนั้นก็เกิดการเสียรูปแบบแยกตัวหรือว่าเกิดการทรุดตัวที่มีความแตกต่างกันมาฝากเพื่อนๆ ซึ่งวิธีการดังกล่าวนี้ถือเป็นวิธีการที่อาศัยหลักการพื้นฐานง่ายๆ ดังนั้นจึงสามารถที่จะประยุกต์ใช้ได้กับเกือบทุกๆ อาคารเลยนั่นก็คือ ทำการก่อสร้างทางเชื่อมโดยอาศัยระบบโครงสร้างที่ทำการก่อสร้างแบบแยกส่วนนั่นเอง เอาเป็นว่าเพื่อนๆ สามารถที่จะดูรูปภาพประกอบคำอธิบายของผมก็ได้นะครับ จากรูปจะเห็นได้ว่าเรามีกรณีที่มีอาคารเก่าอยู่อาคารหนึ่ง ต่อมาก็มีการก่อสร้างอาคารใหม่ขึ้นข้างๆ อาคารหลังนี้ หรือ อีกกรณีหนึ่งก็คือ … Read More
สปันไมโครไพล์ เสาเข็มต่อเติม สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
สปันไมโครไพล์ เสาเข็มต่อเติม สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย สวัสดีครับ ช่วงนี้งานต่อเติมบ้านกำลังมาแรง วันนี้ Mr.SpunMan มีภาพการเตรียมต่อเติมฐานรากบ้าน เพิ่มเติมจากเมื่อวาน มาฝากครับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam พร้อมบริการ เราสามารถทำงานในที่แคบได้ ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง หน้างานสะอาด … Read More
การคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้าง คสล
ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1370505116328943:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อวันก่อนที่ผมได้อธิบายไปเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้าง คสล และเมื่อวานนี้มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาถามผมเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้พอดี ผมเห็นว่าเนื้อหานั้นน่าสนใจจึงตัดสินใจนำมาบอกเล่าต่อแก่เพื่อนๆ ด้วยนะครับ น้องท่านนี้ถามผมว่า จากที่ผมได้ระบุว่าวิธีการประมาณค่า STIFFNESS ตาม มยผ 1302 หน้าที่ 50 โดยใน มยผ ได้ระบุเอาไว้ว่า การกำหนดค่า … Read More