เสาเข็ม SPUN MICRO PILE เหมาะสำหรับต่อเติมบ้าน เพราะไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย ตอกชิดกำแพงได้ ตอกใกล้กระจกได้ ครับ
เสาเข็ม SPUN MICRO PILE เหมาะสำหรับต่อเติมบ้าน เพราะไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย ตอกชิดกำแพงได้ ตอกใกล้กระจกได้ ครับ เสาเข็มเราเป็นที่นิยมในการต่อเติม เพราะคุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ … Read More
เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile อีกทางเลือกสำหรับการก่อสร้างใหม่ เพื่อฐานรากที่มั่นคง
เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile อีกทางเลือกสำหรับการก่อสร้างใหม่ เพื่อฐานรากที่มั่นคง การก่อสร้างใหม่ที่ดี และมีมาตรฐาน ควรมีการตอกเสาเข็มเพื่อเป็นฐานรากในการรองรับน้ำหนักโครงสร้างที่อยู่บนดิน และการตอกเสาเข็มควรตอกให้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง หรือตามรายการคำนวณที่ทางวิศวกรที่มีความชำนวญงานออกแบบ และได้รับการรับรองอย่างถูกต้อง ตามหลักวิศวกรรม เพราะในอนาคตมีโอกาสที่ดินจะยุบตัว หากตอกเสาเข็มสั้นเกินไป ไม่ได้ความลึกตามมาตรฐาน อาจทำให้เสาเข็มทรุดลงไปด้วย ส่งผลทำให้ฐานรากและโครงสร้างเกิดความเสียหาย เพื่อป้องกันปัญหาตั้งแต่เริ่มสร้าง เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยภูมิสยาม … Read More
รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก (ต่อ)
รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก (ต่อ) สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเกร็ดความรู้เล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับการออกแบบและการทำงานโครงสร้าง คสล มาฝากเพื่อนๆ กันเกี่ยวกับเรื่อง “รูปแบบของการวางแนวเหล็กเสริมในฐานราก” กันต่อ โดยที่เนื้อหาที่ผมจะนำมาพูดคุยกับเพื่อนๆ ในวันนี้จะมีความเกี่ยวเนื่องกับประเภทของฐานรากที่ใช้เสาเข็มแค่เพียง 1 ต้น หรือ F1 ซึ่งก็จะต่อเนื่องกับเนื้อหาที่ผมได้อธิบายไปแล้วเมื่อวานด้วยนะครับ … Read More
เกณฑ์ในการพิจารณาว่าชั้นดินใดๆ นั้นจะมีโอกาสที่จะเกิดการ CONSOLIDATE หรือไม่
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของเพื่อนท่านหนึ่งที่ได้ถามผมมาในเพจส่วนตัวของผมว่า “หากเราจำเป็นที่จะต้องใช้ความยาวของเสาเข็มในอาคารที่ไม่เท่ากัน ดังนั้นเราจึงมีความกังวลว่าโครงสร้างของชั้นดินนั้นจะเกิดการ CONSOLIDATE จนทำให้ในที่สุดตัวโครงสร้างเสาเข็มนั้นเกิดค่าระยะการทรุดตัวที่มีค่าแตกต่างกันได้ ซึ่งนอกจากผลจากการทดสอบค่าการรับ นน ของดินแล้ว เรายังมีวิธีในการตรวจสอบสถานะของชั้นดินนี้ว่ามีคุณสมบัติด้านการต้านทานการทรุดตัวนี้ด้วยวิธีการอื่นๆ อีกหรือไม่ ?” ก่อนอื่นผมขอชมเชยเพื่อนท่านนี้ก่อนนะครับ เพราะ การที่เพื่อนท่านนี้เป็นกังวลในประเด็นนี้แสดงว่ามีความรู้ทางด้านงานวิศวกรรมธรณีเทคนิคมากพอสมควรเลยนะครับ และ เป็นการดีแล้วครับที่วิศวกรอย่างเราๆ จะเป็นห่วงว่าโครงสร้างเสาเข็มของเราจะเกิดปัญหาประเด็นนี้ขึ้น เพราะ หากปล่อยให้เกิดปัญหาดังกล่าวขึ้นจริงๆ … Read More