บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การเลือกใช้งานระบบฐานรากเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนให้เพื่อนๆ ทราบไปในการโพสต์ของเมื่อสัปดาห์ก่อนว่า วันนี้ผมจะมาทำการอธิบายและพูดเจาะลึกลงไปในรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง ระยะห่างระหว่างเสาเข็ม และ ลักษณะและประเภทของดินที่เสาเข็มจะต้องมีการฝังตัวลงไป เพิ่มเติมกันอีกสักโพสต์ก็แล้วกันนะครับ ทั้งนี้เราจะสามารถทำการจำแนกกำลังในการรับน้ำหนักของเสาเข็มแบบกลุ่มหรือ GROUP PILE ว่าจะมีกำลังในการรับน้ำหนักเท่ากับเท่าใด ก็จะขึ้นอยู่กับว่าเสาเข็มของเรานั้นมีการวางตัวอยู่ในดินที่จัดอยู่ในประเภทใดดังต่อไปนี้ … Read More

ข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 36 จงคำนวณหาขนาดและประเภทของแรงตามแนวแกน (AXIAL FORCES) ในชิ้นส่วน BE และชิ้นส่วน DE ของโครงข้อหมุน (TRUSS) ABCDE ดังแสดงในรูป … Read More

ลักษณะของการเกิดการแตกร้าวในเนื้อคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะขอมายกตัวอย่างกันให้เห็นถึงลักษณะของการเกิดการแตกร้าวในเนื้อคอนกรีตกันต่อจากเมื่อวานนะครับ มาเริ่มต้นกันทีละภาพนะครับ (A) เริ่มจากภาพ (A) เป็นแผนภาพที่แสดงให้เห็นถึงการแตกร้าวของคอนกรีตทั้งแบบ STRUCTURAL CRACK และ NON-STRUCTURAL CRACK นะครับ จะเห็นได้ว่าปัญหาส่วนใหญ่นั้นจะเกิดจากการที่ผู้ทำงานไม่ใส่ใจที่จะดูแลเรื่องร่วเหล่านี้ไป ทั้งๆ ที่สามารถจะทำได้ตามปกติวิสัยของการทำงานอยู่แล้ว (B) ในรูป (B) … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาถามผมเกี่ยวกับเรื่องหลักการในการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กรูปพรรณว่า “เมื่อทำการออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณชิ้นส่วนที่เป็น คาน-เสา (BEAM-COLUMN ELEMENT) เหตุใดเราจึงจำเป็นที่จะต้องทำการคำนวณปรับแก้ ค่าตัวคูณขยายค่า (MAGNIFICATION FACTOR) … Read More

1 180 181 182 183 184 185 186 188