บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

งานตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จำกัด ตำบลท่าทราย อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

งานตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)  บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จำกัด ตำบลท่าทราย อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร งานนี้ถือเป็นงานที่ยากและท้าทายอีกงานหนึ่งครับ เนื่องจากทางโรงงานหยุดให้เข้าไปงานได้แค่ช่วงกลางคืนและตอนเช้าก็ต้องย้ายปั้นจั่นและอุปกรณ์ออกจากหน้างานทั้งหมด สภาพหน้างานก็มีแต่สิ่งกีดขวางทำให้ยากในการเคลื่อนย้ายปั้นจั่นเพื่อตอกเสาเข็มในแต่ละจุด

รอยแตกในผนังอิฐก่อใต้พื้นชั้นล่างของอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อช่วงเวลาตลอดสัปดาห์ที่ผ่านมาก่อนหน้านี้ผมได้ทำการพูดถึงและหยิบยกและนำเอาประเด็นของการที่อาคารนั้นเกิดการวิบัติเนื่องจากปัญหาของการที่เราละเลยในเรื่องของสภาพชั้นดินซึ่งในตัวอย่างที่ผมนำเอามาให้เพื่อนๆ ได้รับชมนั้นก็จะเป็นปัญหาที่มีความใหญ่มากเลยทีเดียวและเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมาผมก็ได้นำเอาปัญหาที่ต้องถือว่ามีความเล็กน้อยหรือเบาบางกว่าปัญหาในกรณีก่อนหน้านี้เป็นอย่างมากแต่ในขณะเดียวกันก็ได้สร้างความปวดเศียรเวียนเกล้าให้แก่เจ้าของบ้านไม่น้อยเลยทีเดียวเอามาฝากเพื่อนๆ ด้วยซึ่งจะเป็นกรณีที่ทางเจ้าของบ้านได้ทำการต่อเติมส่วนหลังคากันสาดเหล็กออกมา โดยที่ปลายข้างหนึ่งนั้นยึดเข้ากับตัวบ้านเดิมและปลายอีกข้างหนึ่งนั้นก็ถูกยึดเข้ากับโครงสร้างพื้นที่ไม่ได้ทำการลงเสาเข็มใดๆ เอาไว้เลย ซึ่งพอเวลาผ่านไปผลที่ได้ตามมาก็คือ โครงสร้างพื้นที่ไม่ได้ทำการลงเสาเข็มใดๆ เอาไว้ก็เกิดการทรุดตัวลงไป ซึ่งจากการสอบถามไปยังเจ้าของบ้านก็ได้รับคำยืนยันมาว่า โครงสร้างส่วนต่อเติมนี้เพิ่งจะมีการก่อสร้างมาได้เพียงไม่กี่ปีเท่านั้นแต่จากในรูปเพื่อนๆ … Read More

งานออกแบบทางด้านระบบบำบัดน้ำเสีย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ วันนี้ผมจะมาแนะนำและแชร์ความรู้ให้กับเพื่อนๆ แฟนเพจทุกๆ ท่านเกี่ยวกับเรื่องๆ หนึ่งที่ถือได้ว่ามีความสำคัญมากอย่างหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันกับงานทางด้านวิศวกรรมโยธาโดยตรงแต่ว่าหลายๆ คนอาจจะไม่ทราบนั่นก็คือ ระบบบำบัดน้ำเสีย หรือ WATER SEWAGE SYSTEM นะครับ สาเหตุที่หลายๆ … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายคำถามที่ว่า เพราะเหตุใดในการก่อสร้างโครงสร้างฐานรากของโครงสร้างประเภทรั้ว เราจึงมักที่จะเห็นวิศวกรนั้นทำการออกแบบให้ใช้เสาเข็มนั้นวางตัวเป็นแบบคู่ หรือ ไม่ก็เป็นแบบเสาเข็มเดี่ยวสลับกันระหว่างเสาเข็มคู่ ?   ซึ่งหากทำการตั้งคำถามว่าเราสามารถที่จะใช้โครงสร้างเข็มเดี่ยวในการทำเสาเข็มรับรั้วได้หรือไม่ ผมก็ได้ตอบไปว่า ได้ นะครับ … Read More

1 14 15 16 17 18 19 20 188