บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ตอกเสาเข็มในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอ หรือไอไมโครไพล์ I Micropile โดยภูมิสยาม

ตอกเสาเข็มในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอ หรือไอไมโครไพล์ I Micropile โดยภูมิสยาม

ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ     (รูปที่1) ผมจะขออนุญาตเริ่มต้นโดยทำการ DERIVE สมการตั้งต้นของ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM ให้ทุกๆ ท่านได้ทราบกันก่อน เพื่อนๆ จะได้เข้าใจที่มาที่ไปของสมการตั้งต้นตัวนี้ เพื่อการประยุกต์ใช้งานที่ถูกต้องต่อไป … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ตอกรับพื้นโรงงาน

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ตอกรับพื้นโรงงาน ต้องการตอกเสาเข็ม รับพื้นโรงงาน หรือขยายโรงงาน เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้คุณภาพสูงมาตรฐาน มอก. โดยภูมิสยาม ช่วยคุณได้ เพราะตอกแล้วไม่ต้องขนดินทิ้ง ไม่เลอะดินโคลน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย ตอกรับพื้นโรงงาน ขยายโรงงาน แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบ การทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้ผมจะมาตอบคำถามของแฟนเพจท่านหนึ่งทีได้ทิ้งคำถามเอาไว้ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ เสาเข็ม โดยที่ประเด็นนี้จะมีความต่อเนื่องมาจากในสัปดาห์ที่แล้วซึ่งผมก็ถือได้ว่าคำถามๆ นี้มีความน่าสนใจดีนะครับ นั่นก็คือ เพราะเหตุใดเราจึงนิยมใช้ค่าสัดส่วนความปลอดภัยเท่ากับ 2.5 ในการคำนวณหาค่ากำลังการรับน้ำหนักของเสาเข็มเวลาที่เราทำการตรวจสอบการทำ BLOW COUNT นั่นเองครับ … Read More

1 155 156 157 158 159 160 161 188