การงอปลายของเหล็กเสริม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการไขข้อข้องใจแก่เพื่อนวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยสอบถามผมมาว่า เหตุใดในบางครั้งเมื่อเรามองดูเหล็กเสริมในฐานราก ไม่ว่าจะเป็น ฐานรากวางบนดิน หรือ ฐานรากวางบนเสาเข็ม ก็ตาม คือ การงอปลายของเหล็กเสริม เพราะ บางครั้งเราจะพบว่าที่ปลายของเหล็กเสริมในฐานรากจะถูกยืดออกโดยไม่มีการงอขอเลย และ ในบางครั้งก็จะพบว่าที่ปลายของเหล็กเสริมในฐานรากก็จะถูกงอขอ ? วันนี้เราจะมาหาคำตอบกันนะครับ ในตอนเริ่มแรกเราจะมาดูรูป ตย ของปัญหาที่เรากำลังสนใจนี้กันก่อนนะครับ … Read More
การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test)
การทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นที่ยอมรับทั่วไปและมีมาตรฐานรองรับ ได้แก่ ASTM D4945-96 นอกจากนั้น การทดสอบดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น 1. สามารถทำการทดสอบได้ภายในระยะเวลาสั้น ๆ เสาเข็มหลายต้นสามารถทําการทดสอบได้ในวันเดียว 2. ต้องการพื้นที่รอบๆ เสาเข็มไม่มากนักในการเตรียมการทดสอบ 3. ผลการทดสอบให้ข้อมูลที่เพียงพอเกี่ยวกับเสาเข็มในเรื่องของกําลังรับน้ําหนักและความสมบูรณ์ของเสาเข็ม … Read More
ปัญหาเชาว์-puzzle-2018-03-28
เฉลย ปัญหาเชาว์ Facebook Page https://www.facebook.com/bhumisiam = 36 ครับ เพราะอายุห่างกัน 4 ปี (จะอายุมากขึ้นก็ยังห่างแค่ 4 ปีเสมอ) สำหรับ คำตอบ 20 หรือ อื่นๆนั้น ไม่ใช่นะครับ ติ๊กตอก.. ติ๊กตอก.. Note: ถ้าท่องจักรวาลแล้วกลับมาโลก เหมือนภาพยนต์ … Read More
ในงานตอกเสาเข็ม LAST 10 BLOW COUNT ถือเป็นเรื่องสำคัญที่ควรใส่ใจเป็นอันดับแรก
โดยปกติถ้าเป็นดินที่อยู่แถวกรุงเทพฯ ซึ่งจะเป็นดินอ่อน การจะตอกเสาเข็มให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งได้ก็จะต้องตอกให้ลึกประมาณ 21 เมตร หากใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ก็จะต้องใช้เสาเข็ม 14 ท่อนในการตอก 1 ต้น แต่เนื่องจากว่าหน้าดินของแต่ละที่ไม่เหมือนกันดังนั้นจึงต้องหาวิธีที่เป็นมาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ วิธีที่นิยมใช้ก็คือการนับโบว์เคาท์ Last 10 Blow Count หมายถึงระยะจมของเสาเข็มในการทดสอบด้วยการตอก 10 ครั้ง ซึ่งจะต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่คำนวณได้จึงจะผ่านเกณฑ์ … Read More