ในงานตอกเสาเข็ม LAST 10 BLOW COUNT ถือเป็นเรื่องสำคัญที่ควรใส่ใจเป็นอันดับแรก
โดยปกติถ้าเป็นดินที่อยู่แถวกรุงเทพฯ ซึ่งจะเป็นดินอ่อน การจะตอกเสาเข็มให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งได้ก็จะต้องตอกให้ลึกประมาณ 21 เมตร หากใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ก็จะต้องใช้เสาเข็ม 14 ท่อนในการตอก 1 ต้น แต่เนื่องจากว่าหน้าดินของแต่ละที่ไม่เหมือนกันดังนั้นจึงต้องหาวิธีที่เป็นมาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ วิธีที่นิยมใช้ก็คือการนับโบว์เคาท์ Last 10 Blow Count หมายถึงระยะจมของเสาเข็มในการทดสอบด้วยการตอก 10 ครั้ง ซึ่งจะต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่คำนวณได้จึงจะผ่านเกณฑ์ … Read More
ตอกรับพื้นโรงงาน รองรับฐานเครื่องจักรภายในโรงงาน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
ตอกรับพื้นโรงงาน รองรับฐานเครื่องจักรภายในโรงงาน ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ต่อเติม ตอกรับพื้นโรงงาน ตอกรับฐานเครื่องจักรภายในโรงงาน แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. 397-2524 โดยภูมิสยาม สามารถรองรับน้ำหนักได้ตามมาตรฐาน ทดสอบโดย Dynamic Load Test เสาเข็มสปันไมโครไพล์ … Read More
ความรู้ในเบื้องต้นเกี่ยวกับ โครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES
ความรู้ในเบื้องต้นเกี่ยวกับ โครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง หรือ SOIL RETAINING STRUCTURTES จุดประสงค์ของการก่อสร้างโครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพัง คือ การป้องกันการเคลื่อนตัวของมวลดิน ไม่ให้ดินเกิดการเคลื่อนที่เข้ามาสู่ตัวโครงสร้างจนโครงสร้างเกิดการวิบัติขึ้น ทั้งนี้การประยุกต์ใช้โครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพังในทางวิศวกรรรม เช่น งานดินถม งานดินขุด งานสะพาน งานโครงสร้างเพื่อป้องมิให้น้ำท่วม เป็นต้น ซึ่งโดยส่วนมากแล้วโครงสร้างป้องกันไม่ให้ดินพังนั้นมักที่จะก่อสร้างขึ้นในรูปแบบของกำแพงหรือ WALL ที่จะทำหน้าที่ในการกันดิน … Read More
การจำลองโครงสร้างแผ่นพื้น 2 แผ่นในซอฟต์แวร์ทาง FINITE ELEMENTS
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ สืบเนื่องจากการที่เมื่อวานผมได้ทำการอธิบายถึงวิธีในการทำงานก่อสร้างโครงสร้าง แผ่นพื้น หรือ ผนัง คสล ที่มีช่องเปิด ก็พบว่าได้รับความสนใจและคำถามจากเพื่อนๆ มากเลยนะครับ … Read More