ระบบโครงสร้างที่นิยมนำใช้ในการต้านทานแรงกระทำจากการสั่นไหว
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ เรื่องระบบโครงสร้างหนึ่งที่เรานิยมนำใช้ในการต้านทานแรงกระทำจากการสั่นไหวเนื่องจากการเกิดแผ่นดินไหวของอาคารที่เราทำการออกแบบนะครับ คาดว่าน่าจะมีประโยชน์ต่อๆ เพื่อนๆ และ น้องๆ หลายๆ คนที่มีความสนใจในประเด็นๆ นี้อยู่นะครับ ระบบที่ว่านี้ก็คือ ระบบโครงแกงแนง หรือ BRACED FRAME SYSTEM นั่นเองนะครับ โดยระบบๆ นี้ก็คือ … Read More
ตอกเสาเข็มข้างบ้าน หน้าบ้าน หลังบ้าน หรือสร้างใหม่ แนะนำเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก.
ตอกเสาเข็มข้างบ้าน หน้าบ้าน หลังบ้าน หรือสร้างใหม่ แนะนำเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE มาตรฐาน มอก. ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ … Read More
ค่าคาบการสั่นไหวพื้นฐาน หรือ NATURAL VIBRATION PERIOD ของอาคาร
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างอาคารสูง (TALL BUILDING DESIGN หรือ TBD) นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมไปเป็นวิทยากรบรรยายและให้ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหวให้แก่หน่วยงานเอกชนหน่วยงานหนึ่ง ซึ่งในวันนี้ยังเป็นแค่การบรรยายในส่วนพื้นฐานเพียงเท่านั้น ผมยังไมไดลงลึกในรายละเอียด และ ยังไมได้แสดง ตย ในการออกแบบ ได้มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งได้สอบถามผมมาเกี่ยวกับขั้นตอนในการคำนวณ … Read More
เสาตอม่อ (GROUND COLUMN)
เสาตอม่อ (Ground Column) คือ เสาสั้นส่วนที่อยู่ล่างสุดระหว่างฐานรากกับคาน โดยทั่วไปเสาตอม่อจะจมอยู่ใต้ดิน ทำหน้าที่รับแรงอัดหรือน้ำหนักในทางดิ่ง แล้วถ่ายน้ำหนักลงสู่ฐานรากและเสาเข็ม เสาตอม่อ จะเป็นเสาสั้นๆ ส่วนมากจะมีความสูงประมาณ 50-100 เซนติเมตร แต่เป็นเสาที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากต้องทำหน้าที่รับน้ำหนักของเสาที่อยู่ชั้นบน ขั้นตอนการก่อสร้างเสาตอม่อ เนื่องจากว่าเสาตอม่อนั้นจะวางอยู่บนฐานราก ดังนั้นจึงเริ่มจากงานฐานรากก่อน โดยในตอนก่อสร้างฐานรากนั้นจะต้องวางเหล็กเสริมเสาตอม่อไปพร้อมกับฐานราก และต้องตรวจสอบให้เสาตอม่ออยู่กึ่งกลางฐานราก … Read More