บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การอธิบายเทคนิคในการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตคั่นการโพสต์เกี่ยวกับเรื่องเทคนิคต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องพื้นฐานและประสบการณ์ในการออกแบบที่ผมเคยได้เกริ่นไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าผมจะค่อยๆ ทยอยนำเอามาฝากและเล่าสู่กันฟังแก่น้องๆ เนื่องด้วยผมมีโอกาสได้ไปพบเจอเข้ากับโพสต์ดีๆ โพสต์หนึ่งซึ่งจริงๆ แล้วเป็นบทความที่เขียนโดยท่านอาจารย์จิรายุทธ สืบสุข ซึ่งท่านได้เขียนเอาไว้ดีมากๆ วันนี้จึงขออนุญาตนำเอาบทความๆ นี้มาแบ่งปันกับเพื่อนๆ … Read More

ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) หน่วยงาน ปตท.สถานีก๊าซธรรมชาติหลัก เทพารักษ์

งานตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) หน่วยงาน ปตท.สถานีก๊าซธรรมชาติหลัก เทพารักษ์ เป็นงานตอกเสาเข็มระยะใกล้กับถังเก็บก๊าชธรรมชาติ ซึ่งสามารถการันตีเรื่องแรงสั่นสะเทือนขณะตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ได้เป็นอย่างดี

ปัญหาเชาว์-puzzle-2018-02-10

สวัสดีครับ วันนี้ Mr.Micropile ยังคงมีคำถาม มาฝากแฟนเพจได้ลับสมองขบคิดกันครับ สำหรับเฉลย อยู่ด้านล่างนะครับ Bhumisiam ผู้ผลิตรายแรก Spun MicroPile 1) ได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2524 เสาเข็ม Spun MicroPile Dia 21, … Read More

การพิจารณาเรื่องขนาดของโครงสร้างเสา

การพิจารณาเรื่องขนาดของโครงสร้างเสา ในการพิจารณาเรื่องขนาดของโครงสร้างเสานั้นเราควรทำการพิจารณาจาก 3 ปัจจัยหลักๆ ได้แก่ (1) ขนาดจำนวนชั้นของอาคารที่เสาต้นนั้นจะต้องรับ หากอาคารเป็นเพียงอาคาร 1 ถึง 2 ชั้น อาจจะทำการออกแบบให้โครงสร้างเสานั้นมีขนาดปกติ กล่าวคือ อาจจะเป็นขนาดของเสาที่เล็กที่สุด คือ 200×200 มม. แต่ยิ่งอาคารมีขนาดจำนวนชั้นที่มากขึ้นเท่าใด แสดงว่าน้ำหนักในแนวดิ่ง … Read More

1 100 101 102 103 104 105 106 188